ปัจจุบันด้วยความก้าวล้ำของเทคโนโลยี ทำให้เยาวชนในวัยเรียนได้เข้าถึงข้อมูลได้มากมาย ขณะที่เยาวชนวัยเรียนเหล่านี้กำลังถูกพัฒนาอยู่นั้น เรื่องที่เราต้องใส่ใจคือการดูแลสุขภาพ ซึ่งมีความสำคัญไม่น้อยไปกว่าเรื่องการเรียน
กรอบแนวคิดและกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้เยาวชนในเรื่องสุขภาพเป็นเรื่อวจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน ต้องสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมของชุมชนและโลกด้วย ซึ่งปัจจัยความสำเร็จในปรับเปลี่ยนแนวคิดและกระบวนการจัดการเรียนรู้ คือ การสร้างความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต แทนการได้รับความรู้จากผู้สอนเท่านั้น ซึ่งนั่นจะต้องลงมือทำจนเกิดเป็นลักษณะนิสัยและเกิดผลโดยตรงต่อการใช้ชีวิต
หนังสือ"กระบวนการเรียนรู้ที่สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ(HealthLiteracy)"
คู่มือพัฒนาทักษะสมองEFExecutiveFunctionsสำหรับครูปฐมวัย
คู่มือพัฒนาทักษะสมองEFExecutiveFunctionsในเด็กวัย13-18ปีสำหรับพ่อแม่และครู
คู่มือพัฒนาทักษะสมองEF-ExecutiveFunctionsในเด็กวัย7-12ปีสำหรับพ่อแม่และครู
คู่มือพัฒนาทักษะสมองEF-ExecutiveFunctionsตั้งแต่ปฏิสนธิ-3ปีสำหรับพ่อแม่
EFGuidelineเครื่องมือวิเคราะห์เพื่อออกแบบ“การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะสมองEF”สำหรับครูปฐมวัย
องค์ความรู้ด้านวิถีชีวิตกับโรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน และกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
วิถีชีวิตกับโรคทางกระดูกสันหลัง
ตะลุยจักรวาลแห่งจิ๋ม
กุ๊กไก่เป็นหวัด
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
เครื่องมือ 1-10 กระบวนการปรับพฤติกรรมให้ห่างไกลจากกลุ่มโรค NCDs
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
ชราสุขด้วย11อ.
คู่มือการดูแลผู้สูงวัยชุดไม้เท้าช่วยมอง
คู่มือการดูแลตัวเองเพื่อลดละเลิกสารเสพติด
ฟันดีเริ่มที่ซี่แรก
พื้นที่น้อยก็ปลูกผักได้